เมนู

มี 2 อย่าง คือที่เป็น อนันตรูปนิสสยะ และ ปกตูปนิสสยะ
ที่เป็น ปกตูปนิสสยะ ได้แก่
ขันธ์ทั้งหลายที่สหรคตด้วยอุทธัจจะ และโมหะ เป็นปัจจัยแก่ขันธ์
ทั้งหลายที่สหรคตด้วยอุทธัจจะ และโมหะ ด้วยอำนาจของอุปนิสสยปัจจัย.

10. ปุเรชาตปัจจัย


[942] 1. เนวทัสสเนนนภาวนายปหาตัพพเหตุกธรรม เป็น
ปัจจัยแก่เนวทัสสเนนนภาวนายปหาตัพพเหตุกธรรม ด้วยอำนาจ
ของปุเรชาตปัจจัย

มี 2 อย่าง คือที่เป็น อารัมมณปุเรชาตะ และ วัตถุปุเรชาตะ
ที่เป็น อารัมมณปุเรชาตะ ได้แก่
บุคคลพิจารณาเห็นจักษุ โดยความเป็นของไม่เที่ยง ฯลฯ
บุคคลพิจารณาเห็น โสตะ ฯลฯ หทยวัตถุ โดยความเป็นของไม่เที่ยง
ฯลฯ
บุคคลเห็นรูป ด้วยทิพยจักษุ ฯลฯ ฟังเสียง ด้วยทิพโสตธาตุ ฯลฯ
รูปายตนะ เป็นปัจจัยแก่จักขุวิญญาณ ฯลฯ โผฏฐัพพายตนะ เป็น
ปัจจัยแก่กายวิญญาณ ด้วยอำนาจของปุเรชาตปัจจัย.
ที่เป็น วัตถุปุเรชาตะ ได้แก่
จักขายตนะ ฯลฯ กายายตนะ เป็นปัจจัยแก่กายวิญญาณ หทยวัตถุ
เป็นปัจจัยแก่ขันธ์ทั้งหลายที่เป็นเนวทัสสเนนนภาวนายปหาตัพพเหตุกธรรม
และโมหะ ด้วยอำนาจของปุเรชาตปัจจัย.
[943] 2. เนวทัสสเนนนภาวนายปหาตัพพเหตุกธรรม เป็น
ปัจจัยแก่ทัสสเนนปหาตัพพเหตุกธรรม ด้วยอำนาจของปุเรชาตปัจจัย

มี 2 อย่าง คือที่เป็น อารัมมณปุเรชาตะ และ วัตถุปุเรชาตะ
ที่เป็น อารัมมณปุเรชาตะ ได้แก่
บุคคลย่อมยินดี ย่อมเพลิดเพลินยิ่งซึ่งจักษุ ฯลฯ หทยวัตถุ เพราะ
ปรารภจักษุเป็นต้นนั้น ราคะที่เป็นทัสสเนนปหาตัพพเหตุกธรรม ฯลฯ ทิฏฐิ
ฯลฯ วิจิกิจฉา ฯลฯ โทมนัสที่เป็นทัสสเนนปหาตัพพเหตุกธรรม ย่อมเกิดขึ้น.
ที่เป็น วัตถุปุเรชาตะ ได้แก่
หทยวัตถุ เป็นปัจจัยแก่ขันธ์ทั้งหลายที่เป็นทัสสเนนปหาตัพพเหตุก-
ธรรม ด้วยอำนาจของปุเรชาตปัจจัย.
[944] 3. เนวทัสสเนนนภาวนายปหาตัพพเหตุกธรรม เป็น
ปัจจัยแก่ภาวนาปหาตัพพเหตุกธรรม ด้วยอำนาจของปุเรชาตปัจจัย

มี 2 อย่าง คือ อารัมมณปุเรชาตะ วัตถุปุเรชาตะ
ที่เป็น อารัมมณปุเรชาตะ ได้แก่
บุคคลย่อมยินดี ย่อมเพลิดเพลินยิ่งซึ่งจักษุ ฯลฯ หทยวัตถุ เพราะ
ปรารภจักษุเป็นต้นนั้น ราคะที่เป็นภาวนายปหาตัพพเหตุกธรรม ย่อมเกิดขึ้น
อุทธัจจะ โทมนัสที่เป็นภาวนายปหาตัพพเหตุกธรรม ย่อมเกิดขึ้น.
ที่เป็น วัตถุปุเรชาตะ ได้แก่
หทยวัตถุ เป็นปัจจัยแก่ขันธ์ทั้งหลายที่เป็นภาวนายปหาตัพพเหตุก-
ธรรม ด้วยอำนาจของปุเรชาตปัจจัย.
[945] 4. เนวทัสสเนนนภาวนายปหาตัพพเหตุกธรรม เป็น
ปัจจัยแก่ทัสสเนนปหาตัพพเหตุธรรม และเนวทัสสเนนนภาวนาย-
ปหาตัพพเหตุกธรรม ด้วยอำนาจของปุเรชาตปัจจัย

มี 2 อย่าง คือที่เป็น อารัมมณปุเรชาตะ และ วัตถุปุเรชาตะ
ที่เป็น อารัมมณปุเรชาตะ ได้แก่
จักษุ ฯลฯ เพราะปรารภหทยวัตถุ ขันธ์ทั้งหลายที่สหรคตด้วยวิจิกิจฉา
และโมหะ ย่อมเกิดขึ้น.
ที่เป็น วัตถุปุเรชาต ได้แก่
หทยวัตถุ เป็นปัจจัยแก่ขันธ์ทั้งหลาย ที่สหรคตด้วยวิจิกิจฉา และ
โมหะ ด้วยอำนาจของปุเรชาตปัจจัย.
[946] 5. เนวทัสสเนนนภาวนายปหาตัพพเหตุกธรรม เป็น
ปัจจัยแก่ภาวนายปหาตัพพเหตุกธรรม และเนวทัสสเนนนภาวนาย
ปหาตัพพเหตุกธรรม ด้วยอำนาจของปุเรชาตปัจจัย

มี 2 อย่าง คือที่เป็น อารัมมณปุเรชาตะ และ วัตถุปุเรชาตะ
ที่เป็น อารัมมณปุเรชาตะ ได้แก่
จักษุ ฯลฯ เพราะปรารภหทยวัตถุ ขันธ์ทั้งหลายที่สหรคตด้วย
อุทธัจจะและโมหะ ย่อมเกิดขึ้น.
ที่เป็น วัตถุปุเรชาตะ ได้แก่
หทยวัตถุ เป็นปัจจัยแก่ขันธ์ทั้งหลายที่สหรคตด้วยอุทธัจจะ และโมหะ
ด้วยอำนาจของปุเรชาตปัจจัย.

11. ปัจฉาชาตปัจจัย


[947] 1. ทัสสเนนปหาตัพพเหตุกธรรม เป็น ปัจจัยแก่เนว-
ทัสสเนนนภาวนายปหาตัพพเหตุกธรรม ด้วยอำนาจของปัจฉาชาต-
ปัจจัย

คือ ขันธ์ทั้งหลายที่เนนทัสเนนปหาตัพพเหตุกธรรม ที่เกิดภายหลัง
เป็นปัจจัยแก่กายนี้ ที่เกิดก่อน ด้วยอำนาจของปัจฉาชาตปัจจัย.
[948] 2. ภาวนายปาตัพพเหตุกธรรม เป็นปัจจัยแก่เนว-
ทัสสเนนนภาวนายปหาตัพพเหตุกธรรม ด้วยอำนาจของปัจฉาชาต-
ปัจจัย

คือ ขันธ์ทั้งหลายที่เป็นภาวนายปหาตัพพเหตุกธรรม ที่เกิดภายหลัง
เป็นปัจจัยแก่กายนี้ ที่เกิดก่อน ด้วยอำนาจของปัจฉาชาตปัจจัย.
[949] 3. เนวทัสสเนนนภาวนายปหาตัพพเหตุกธรรม เป็น
ปัจจัยแก่เนวทัสสเนนนภาวนายปหาตัพพเหตุกธรรม ด้วยอำนาจของ
ปัจฉาชาตปัจจัย

คือ ขันธ์ทั้งหลายที่เป็นเนวทัสสเนนนภาวนายปหาตัพพเหตุกธรรม ที่
เกิดภายหลัง เป็นปัจจัยแก่กายนี้ ที่เกิดก่อน ด้วยอำนาจของปัจฉาชาตปัจจัย.
[950] 4. ทัสสเนนปหาตัพพเหตุกธรรม และเนวทัสสเนน-
นภาวนายปหาตัพพเหตุกธรรม เป็นปัจจัยแก่เนวทัสสเนนนภาว-
นายปหาตัพพเหตุกธรรม ด้วยอำนาจของปัจฉาชาตปัจจัย